top of page
โลโก้  น.ส. ทิวา ไม้แดง.jpg
แบนเนอร์-หมวด 4.png
รายละเอียด​
คำอธิบาย
หรือหลักฐาน หรือภาพถ่ายประกอบ

4.1 การจัดการของเสีย

      4.1.1 หน่วยงานมีการจัดการขยะในสำนักงานอย่างไรบ้าง

              - มีการคัดแยกขยะแบ่งตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นใน                            สำนักงาน

              - ติดป้ายบ่งชี้ขยะแต่ละประเภทอย่างถูกต้อง

              - บุคลากรในหน่วยงานทิ้งขยะได้ถูกประเภท

              - มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภททุกเดือน

              - มีจุดพักขยะของหน่วยงาน

              - มีการจัดทำเส้นทางการจัดการขยะแต่ละประเภทใน                        สำนักงาน

              - มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตาม                     กฎหมาย

              - ยังไม่เคยดำเนินการในเรื่องนี้

4.1.1-1 มีการคัดแยกขยะตามประเภทที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงานและการจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่างๆอย่างเหมาะสมทุกจุด ที่สุมตรวจสอบ

4.1.1-2 มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ

4.1.1-3 มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการโดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ 1 อย่างเพียงพอ

4.1.1-4 มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจ

4.1.1-5 มีการส่งขยะให้อปท.หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

4.1.1-6 มีการติดตามตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ(กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)

4.1.1-7 ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน(ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้อง)

4.1.2 การรณรงค์ สร้างความตระหนัก ลดการเกิดขยะ

  • มีกิจกรรมรณรงค์ สร้างความตระหนัก การเรียนรู้เกี่ยวกับ การจัดการขยะในสำนักงาน

  • มีการใช้แก้วน้ำส่วนตัวหรือถุงผ้าหรือกล่องข้าวเพื่อลดปริมาณพลาสติกในหน่วยงาน

  • หน่วยงานเป็นองค์กรปลอดโฟม

  • ยังมีการใช้โฟมในอาคาร

  • ยังไม่เคยดำเนินการในเรื่องนี้

4.2 การจัดการน้ำเสีย

หน่วยงานมีการดำเนินงานในการจัดการน้ำเสียอย่างไรบ้าง

4.2.1 อาคารหน่วยงานมีขนาดน้อยกว่า 5,000 ตร.ม.

  • มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะทุกจุด

  • ยังไม่มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะหรือมีไม่ครบทุกจุด

  • มีการตรวจสอบสภาพความพร้อมใช้งานของถังดักไขมัน

  • กำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลจัดการน้ำเสียของหน่วยงาน

  • ยังไม่เคยดำเนินการในเรื่องนี้

4.2.2 อาคารหน่วยงานมีขนาดมากกว่า 5,000 ตร.ม.

  • กำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลจัดการน้ำเสียของหน่วยงาน

  • มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะทุกจุด

  • ยังไม่มีถังดักไขมันบริเวณจุดล้างภาชนะหรือมีไม่ครบทุกจุด

  • มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้ง (กรณีพื้นที่ใช้สอยของอาคารมากกว่า 5,000 ตร.ม.)

  • ไม่มีการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้ง(กรณีพื้นที่ใช้สอยของอาคารมากกว่า 5,000 ตร.ม.)

  • ยังไม่เคยดำเนินการในเรื่องนี้

4.2.1-1  การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสียและจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ

4.2.1-2  มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเช่นมีตะแกรงดักเศษอาหาร  มีบ่อดักไขมัน  หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของเสีย

4.2.1-3  มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย

4.2.1-4 มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กฎหมายกำหนด

4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียโดยมีแนวทางดังนี้

4.2.2-1 มีการดูแลระบบน้ำเสียหรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร

และไขมันออกจากตะแกรงดักไขมันหรือบ่อดักไขมันตามความถี่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน

4.2.2-2 มีการนำกากตะกอนออกจากระบบบำบัดน้ำเสียหรือเศษอาหาร 

น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง

4.2.2-3 มีการตรวจสอบปรับปรุงซ่อมแซมระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถ

ใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ

4.2.2-4 มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกัน

การปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ

bottom of page